วันศุกร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 3

 

ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 3

ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์

(Onlile Lermimg Management System)

08 กรกฎาคม 2564       

              กิจกรรมการเรียนการสอนมีดังนี้

 อาจารย์ให้นักศึกษาเข้าเรียนในระบบอีเลอร์นิ่ง (https://elearning.yru.ac.thเวลา 09:00 น. เพื่อทำกิจกรรมดังนี้ 

1.      ทบทวนเนื้อหาบทที่ 1 

https://elearning.yru.ac.th/.../%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8...

 

                                    เอกสารประกอบการเรียน บทที่ 1 บทนำ

    2. ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) บทที่ 1 บทนำ 

https://elearning.yru.ac.th/home/mod/quiz/view.php?id=1860



    3. เตรียมตัวเล่นเกมส์ Kahoot ทบทวนความรู้บทที่ 1 (สะสมแต้มแต่ละบท มีรางวัลคะแนนรวมสูงสุด Top 10) โดย 1) กรณีใช้มือถือ/ipad ติดตั้ง App Kahoot กรณีใช้ Notebook/PC ให้เปิดเว็บ https://kahoot.it และรออาจารย์บอกรหัส และแนะนำขั้นตอนการเล่นในห้องประชุม ZOOM (เวลา 10.00 น.)


กิจกรรม Kahoot ทดสอบบทที่ 1

    4. ให้ทำกิจกรรมแบบทดสอบก่อนเรียนบทที่ 2 

https://elearning.yru.ac.th/home/mod/quiz/view.php?id=1865


    5. ทุกคนเข้าห้อง Zoom Conference เวลา 10.00 น.

       เรียนออนไลน์ด้วยระบบ ZOOM

                   หลังจากทำกิจกรรมที่อาจารย์กำหนดทุกอย่างเรียบร้อย จึงขึ้นบทเรียนใหม่ บทที่ 2 ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ (Online Learning) ซึ่งสามารถสรุปเนื้อหาสาระสำคัญ ดังนี้

1. ระบบการเรียนการสอนออนไลน์

                                  Constructivism แนวคิดหลักของ การเรียนการสอน ออนไลน์

        ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชื่อว่าการเรียนรู้หรือการสร่างความรู้ เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน โดยที่ ผู้เรียนเป็นผู่สร้างความรู โดยการนําประสบการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในสิ่งแวดล้อมหรือสารสนเทศใหม่ ที่ได้รับมาเชื่อมโยงกับ ความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม มาสร้างเป็น ความเข้าใจของตนเอง หรือ เรียกว่า โครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structure) หรือที่เรียกว่า สกีมา (Schema) ซึ่งนั่นคือ ความรู้นั่นเอง ซึ่งอาจมิใช่เป็นเพียงการจดจำสารสนเทศมาเท่านั้น แต่จะประกอบด้วย โดยที่แต่ละบุคคลนําประสบการณ์เดิมหรือความรู้ความเข้าใจเดิมที่ตนเองมีมาก่อน มาสร้างเป็นความรู้ความเข้าใจที่มีความหมายของตนเองเกี่ยวกับสิ่งนั้นๆ ซึ่งแต่บุคคลอาจสร้างความหมายที่แตกต่างกัน เพราะมีประสบการณ์หรือความรู้ความเข้าใจเดิมที่แตกต่างกัน

2. นวัตกรรมการเรียนรู้ออนไลน์

3. การจัดการหลักสูตรออนไลน์


4. บทบาทผู้สอนและผู้เรียนออนไลน์
         บทบาทผู้สอนออนไลน์ ได้แก่ เป็นผู้แนะนําการเรียน ผู้เชียร์และสร้างแรงบันดาลใจ, เป็นโค้ชการเรียนรู้, เป็นผู้สะท้อนกลับให้แก่ผู้เรียน และเป็นผู้ ประสานสัมพันธ์กลุ่มสังคมออนไลน์ 
         บทบาทผู้เรียน ได้แก่ พัฒนาทักษะ ICT เปิดใจและเจตคติที่ดี สร้างแรงบันดาใจให้ตนเอง ให้ความร่วมมือกับทีม เป็นนักคิดเชิงวิพากษ์ มีความสามารถสะท้อนความรู้ และเชื่อมั่นในระบบการเรียนออนไลน์ เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
5. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 
        รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ได้แก่ แบบประสานเวลา (Synchronous Learning) แบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และแบบผสมผสาน (Hybrid Learning)
6. การวัดและประเมินผล 
        การประเมินผลการเรียนออนไลน์ มีทั ้งประเมินระหว่างเรียน (Formative Assessment) และประเมินผลสรุป (Summative Assessment)


        จากการเรียนในวันนี้ ทำให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเรียนการสอนออนไลน์มากยิ่งขึ้น ทั้งได้รู้จักนวัตกรรมการเรียนรู้ออนไลน์มากขึ้น ทำให้เราสามารถเลือกใช้นวัตกรรมให้เหมาะสมกับจุดประสงค์ให้บรรลุได้ง่ายขึ้น อีกทั้งได้รู้ถึงการจัดการหลักสูตรออนไลน์ บทบาทผู้สอนและผู้เรียนออนไลน์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์และการวัดและประเมินผล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น